ครั้งที่ 1 ทำความรู้จักกับชุดคำสั่งพื้นฐานของโปรแกรม
- หลักการในการเขียนแบบ 2 มิติ และทำความรู้จักกับโปรแกรม AutoCAD
- แนะนำวิธีการใช้คำสั่งในการเขียนแบบอย่างมีประสิทธิภาพที่ใช้ระบบเขียนแบบในด้านต่างๆ
- การเริ่มต้นในการเขียนแบบ 2 มิติและหลักการในการเริ่มต้นในการเขียนแบบ 2 มิติ
- หลักการในการกำหนดหน่วยวัดและความละเอียดของหน่วยวัด (Unit) ในการเขียนแบบด้านต่างๆ
- การปรับหน้าจอในส่วนของ Tool Palettes , Command Line ให้เหมาะสมกับการทำงาน
- การกำหนดขอบเขตในการเขียนแบบ (Limits) และตั้งระยะ Grid & Snap
- การเขียนเส้นตรง (Line)ในรูปแบบต่างๆ , กำหนดค่าแบบแอบโซลุท คอร์ออร์ดิเนท รีเลทีฟคอร์ออร์ ดิเนทระยะ
- การอ้างอิงมุม และการเปิด / ปิด Ortho และ การวัดมุมแบบ Polar Angle Measurement
- การย่อ ขยาย งานให้สะดวกในการทำงาน
- การสร้าง Profile เพื่อเก็บค่าการปรับแต่งจอภาพของตนเอง
- การใช้ Pan เลื่อนภาพเพื่อความสะดวกในการเขียนแบบ
- การใช้เครื่องมือในการแก้ไขแบบเบื้องต้น • การย้อนคำสั่งและเรียกคืนกลับมาใช้งาน
- เทคนิควิธีการเลือกวัตถุ
- การย้อนคำสั่งและเรียกคืนกลับมาใช้งานด้วยคำสั่ง
- การสำรองข้อมูลไฟล์และการกำหนดการบันทึกงานอัตโนมัติ
- การบันทึกข้อมูลสำหรับใช้งานใน Version13, 14, 2000, 2002, 2004, 2005, 2006
Workshop ฝึกการเขียนแบบแปลนพื้นฐาน BASIC I
ครั้งที่ 2 ชุดคำสั่งพื้นฐานของโปรแกรมเพื่อใช้ในการเขียนแบบแปลน
- การเขียนสี่เหลี่ยมและวงกลม
- การคัดลอกและการคัดลอกวัตถุแบบหลายๆ ชิ้น
- การเคลื่อนย้ายวัตถุในรูปแบบต่างๆ
- การใช้เครื่องมือเพื่อความแม่นยำในการเขียนแบบ
- การใช้ Object Snap Tracking
- การวัดระยะห่างและมุมระหว่างจุดสองจุด แบบฝึกหัดฝึกการเขียนแบบแปลนพื้นฐาน BASIC II
ครั้งที่ 3 หลักการจัดลำดับขั้นตอนการทำงานและปรับเปลี่ยนแก้ไขแบบแปลน
- การกำหนดลำดับขั้นการทำงาน, รูปแบบของเส้น
- การใช้แถบรายการต่างๆ บนทูลบาร์ Object Properties
- การจัดกลุ่มภายในแบบแปลน
- การกำหนด Scale ของเส้นในรูปแบบต่างๆ
- การเปลี่ยนเลเยอร์ใช้งาน โดยใช้ Layer ที่ถูก Current
- การคัดลอกคุณสมบัติของวัตถุไปใส่ในอีกวัตถุหนึ่ง
- การจัดการสถานะของเลเยอร์,การตรวจสอบวัตถุในเลเยอร์,การเคลื่อนย้ายเลเยอร์
- การเปลี่ยนเลเยอร์ให้อยู่ในเลเยอร์ที่ใช้งานอยู่,การคัดลอกเลเยอร์ไปยังเลเยอร์ใหม่
- การใช้งานเลเยอร์ที่ต้องการเลเยอร์เดียวชั่วคราว และการเรียกกลับ
- การปิดเลเยอร์ของวัตถุที่ถูกเลือกและเปิดเลเยอร์
- การแช่แข็งเลเยอร์ของวัตถุที่ถูกเลือกและการละลายเลเยอร์
- การล็อคเลเยอร์ทั้งหมดด้วยคำสั่งและการปลดล็อคเลเยอร์ทั้งหมด
- การรวมเลเยอร์และการลบเลเยอร์
- การเขียนรูปหลายเหลี่ยมแบบต่าง ๆ
- การใช้คำสั่งในการแก้ไขความยาวเส้น ยืด หด เส้น ,การสร้างเส้นคู่ขนาน
Workshop ฝึกการเขียนแบบแปลนโครงสร้างต่างๆ และการกำหนดเลเยอร์มาตรฐานสำหรับแบบแปลน
ครั้งที่ 4 หลักการแก้ไขแบบแปลนเบื้องต้น
- การใช้คำสั่งเขียนแส้นแบบต่อเนื่องและเส้นโค้ง
- การแปลงจากเส้นไม่ต่อเนื่องเป็นเส้นต่อเนื่อง
- การสร้างเส้นหัวลูกศร
- การใช้คำสั่งเพื่อรวมเส้น,แก้ไขปลายเส้น ตัดเส้น และการตัดเส้น
- การใช้คำสั่งลบมุมตัดและลบมุมโค้งของเส้นตรง
- การล้างจอภาพ , การคำนวณหาพื้นที่และเส้นรอบรูปของที่ดินหรือแบบแปลน
- การสร้างเส้นจากผิวสัมผัสของส่วนโค้ง แบบฝึกหัดฝึกการเขียนแบบแปลนพื้นฐาน BASIC III
ครั้งที่ 5 การสร้างและแก้ไขแบบในส่วนของเส้นต่อเนื่องและเส้นโค้ง
- การสร้างรูปตัดและรูปด้านโดยการอ้างอิงจากแบบแปลน
- การยืดและหดวัตถุหลายชิ้นพร้อมกัน,การคัดลอกวัตถุหลายๆ ชิ้นในครั้งเดียว
- การใช้คำสั่งคัดลอกวัตถุจำนวนมาก
- การใช้คำสั่งในการเขียนเส้นคู่ขนาน , การใช้คำสั่งสร้าง Polyline แบบปิด
- การปิดบังส่วนที่ไม่ต้องการให้แสดง และ เพื่อให้ปิด/เปิด แสดงส่วนที่ปิดบัง
- การใช้เครื่องมือในการเขียนส่วนโค้ง วงรี และ โดนัท
- การใช้คำสั่งในการแก้ไขความยาวเส้น ยืด หด เส้น
- การ Set Point Style และเขียนจุดอ้างอิง Point
- การใช้คำสั่งในการแบ่งส่วนของเส้นตามระยะที่กำหนดหรือเท่าๆ กัน
Workshop ฝึกการเขียนแบบแปลน รูปตัดโดยมีรายละเอียดของส่วนโค้งและแบบประตูหน้าต่าง
ครั้งที่ 6 การเขียนแบบแปลนและใส่ลวดลายให้กับแบบแปลน
- การสร้างเส้นคู่ขนานแบบหลายๆ เส้นภายในครั้งเดียว
- การหมุนและพลิกกลับด้านและการย้ายวัตถุจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่งโดยการหมุนและเคลื่อนที่
- การสร้างก้อนเมฆ , การสร้างสัญลักษณ์ Breakline , การเขียนงานรูปตัดโครงสร้างโดยใช้คำสั่งต่างๆ
Workshop ฝึกการเขียนแบบแปลน ขยายห้องน้ำและแบบแปลนต่างๆ
ครั้งที่ 7 การแก้ไขและใส่ลวดลายให้กับแบบแปลนพร้อมทั้งตัวอักษร
- การใส่ลวดลายให้กับชิ้นงานและแก้ไข Hatch และสามารถตัดได้
- การกำหนดให้ Hatch สามารถสั่ง DRAWORDER , การใส่ลวดลายแฮทช์แบบพิเศษ
- การกำหนดตัวอักษร รูปแบบ มาตราส่วนและการใช้ภาษาไทยในงาน AutoCAD
- การกำหนดชนิด สี ขนาดความสูงของตัวเลขและตัวอักษร
- การเขียนตัวเลข ตัวอักษร ทั้งภาษาไทยและอังกฤษ
- การแก้ไข ชนิด สี ขนาดความสูงของตัวเลขและตัวอักษรที่สร้างไว้แล้ว
- การใส่สัญลักษณ์ต่างๆ เช่น เส้นผ่านศูนย์กลาง ระดับบวกลบ องศา
- การกำหนดให้ตัวอักษร มี Text Mask หรือ Background Mask
- การกำหนดให้สัญลักษณ์ในการประกอบแบบ, การปรับความกว้างของตัวอักษร
- การกำหนดการปิดกั้นไม่ให้มองเห็นด้านหลังของตัวอักษรและปลดการปิดกั้น
- การระเบิดตัวอักษรให้เป็นเส้นธรรมดา
- การแปลง DTEXT ให้เป็น MTEXT และแปลง MTEXT เป็น DTEXT
- การเขียนตัวอักษรตามแนวโค้ง, การหมุนตัวอักษร , การเขียนเลขลำดับตัวอักษร
- การสร้างบล็อค การสอดแทรกบล็อค การระเบิดบล็อค
- การแก้ไข Block หรือ Wblock และ การคัดลอกส่วนประกอบของบล็อก
- การตัดเส้นและต่อเส้นโดยใช้บล็อกเป็นแกนตัด ,การแทนที่บล็อกด้วยบล็อกใหม่, การย่อ –ขยายวัตถุ
Workshop ฝึกการใส่ลวดลายและสัญลักษณ์ให้กับแบบแปลน
ครั้งที่ 8 หลักการสร้างแบบแปลนและลงรายละเอียดต่าง ๆ และระบบฐานข้อมูล
- การกำหนดรูปแบบของเส้นบอกระยะ (Dimension) ในแบบต่างๆ
- การกำหนดรูปแบบของส่วนประกอบของเส้นบอกระยะ (Dimension) ในรายละเอียด เพื่อให้เหมาะสม กับแบบแปลน
- การบอกขนาดด้วยเส้นบอกระยะ (Dimension) ในแบบต่างๆ
- การกำหนดมาตราส่วนให้กับเส้นบอกระยะ (Dimension), การแก้ไขเส้นบอกระยะ(Dimension)ที่ได้ สร้างไปแล้ว
- การกำหนดสเกลแฟคเตอร์สำหรับเส้นบอกขนาด
- การนำรูปแบบเส้นบอกขนาดออกจากแบบแปลน
- การเรียกคืนค่าตัวเลขบอกขนาดที่ได้แก้ไขไปให้ตรงกับความเป็นจริงที่วัดได้
- การย่อ – ขยายวัตถุและปรับเส้นบอกขนาดให้ได้สัดส่วนกับมาตราส่วนทีได้ย่อ-ขยายไปแล้ว
- ขั้นตอนการสอดแทรกคุณสมบัติวัตถุจาก File อื่นๆ
- การสร้างและแก้ไขแอททริบิวต์,การควบคุมการปรากฏของแอทริบิวต์
- ขั้นตอนการแยกแอททริบิวต์ออกไปใช้ในโปรแกรมอื่นๆ
- การ Export แอททริบิวต์และการจัดการกับแอททริบิวต์
- การแก้ไขแอททริบิวต์ทั้งหมดในแบบแปลน, การระเบิดบล็อกและแปลงแอททริบิวต์ให้เป็นตัวอักษร ธรรมดา
- การแก้ไขคุณสมบัติของวัตถุ, การสอดแทรกและปรับแต่งรูปภาพให้กับชิ้นงานและกำหนดคุณสมบัติ ต่างๆ
- การสร้างแบบแปลนอย่างละเอียดและสามารถก่อสร้างได้
Workshop ฝึกการเขียนแบบแปลนโดยใส่เส้นบอกระยะและแบบขยาย
ครั้งที่ 9 การเขียนแบบ Isometric และการใช้ XREF ในรูปแบบต่าง ๆ
- หลักการทำงานระบบ Network (Team work)
- การจัดการกับ Xref ในการทำงานแบบ Network
- การสอดแทรก Xattach และการแปลง Xref เป็น Block และการแก้ไข Xref
- การคัดลอกส่วนประกอบของเอกซ์เรฟ, การตัดเส้นและต่อเส้นโดยใช้เอกซ์เรฟเป็นแกนตัด
- การทำตารางรายการประกอบแบบ
- การควบคุม Cursor และ Polar เพื่อใช้ในการเขียนแบบ Isometric
- การเขียนแบบ Isometric ด้วยค าสั่ง Line , Pline ,Ellipse –Isocircle –set Grid snap type Isometric
- การเขียนและกำหนดเส้นบอกระยะตามมุมของ Isometric
- การกำหนดตัวอักษร Text แบบมุมมอง Isometric View
ครั้งที่ 10 หลักการการพิมพ์แบบแปลนและทดสอบการพิมพ์ด้วยเครื่อง Printer, Acrobat
- หลักการในการจัดเตรียมกระดาษเพื่อใช้ในการพิมพ์แบบแปลน
- การกำหนดขนาดกระดาษและตั้งค่าเครื่องพิมพ์และพื้นที่พิมพ์ (Plot)
- การสร้างกรอบกระดาษให้ได้มาตรฐานในการเขียนแบบและทำเป็น Template
- การใช้ Page Setup ในการตั้งค่าและสามารถ Preview ได้ทันที
- การกำหนดพื้นที่พิมพ์แบบ ตามขนาดกระดาษ A4, A3, A2 และ A1 ที่ใช้ในงานเขียนแบบ
- การกำหนดมาตราส่วน ตามหน่วยวัดเมตริก เป็น มิลลิเมตร และเมตร
- การสร้างวิวพอร์ทเพื่อกำหนดหลายมาตราส่วนในแบบแผ่นเดียวกัน
- การเปลี่ยนจากหน้าต่าง Model Space to Paper Space
- การกำหนดมาตราส่วนให้กับวิวพอร์ทเพื่อการพิมพ์แบบแปลนที่ถูกต้อง
- การจัดวางตำแหน่งแบบในวิวพอร์ทให้เหมาะสม , การซ่อนเลเยอร์ในวิวพอร์ทด้วยคำสั่ง LAYVPI
- การตั้งคุณสมบัติและบันทึกชุดคำสั่งสำหรับการสั่งพิมพ์
- หลักการในการพิมพ์แบบแปลนให้มีความเข้ม – บาง ตามเบอร์ของปากกา
- การกำหนดพื้นที่พิมพ์แบบ ตามขนาดต่าง ๆ, การกำหนดคุณสมบัติของเครื่องพิมพ์แบบต่างๆ
- การแสดงผลของภาพตัวอย่างก่อนการพิมพ์แบบและสั่งพิมพ์แบบจริง
- การขยาย Viewport บนพื้นที่ Model space ให้เต็มพื้นที่วาดภาพ
- การใช้ eTransmit เก็บบันทึกแบบแปลนและ File ที่เกี่ยวข้อง
Workshop ฝึกการจัดหน้ากระดาษและการพิมพ์งาน.ใน Acrobat 8 Professional7 ตอบ-ปัญหาที่สงสัยโดยประสบการณ์ของวิทยากร
Course Outline อาจมีการปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสมของนักเรียนในคอร์สนั้นๆ โดยมิต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า