ครั้งที่ 1 หลักการพื้นฐานและการเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม 3DS MAX
- แนะนำการติดตั้งโปรแกรมและแก้ปัญหาที่เกิดจากติดตั้ง จาก Autodesk
- หลักการของการสร้างภาพ 3 มิติ, รูปแบบของโครงสร้าง 3 มิติใน Autodesk 3DS MAX
- การเริ่มต้นการใช้งาน Autodesk 3DS MAX
- ความสามารถโดยรวม ของ Autodesk 3DS MAX , Main User Interface (UI) Command Panel , Tab Panel
- หลักการในการตั้งค่า Viewport Configurations(Rendering Method Panel , Layout Panel)
- การใช้งาน Viewport Control และเปลี่ยนชนิดของ Viewport
- การใช้ Spinners, Flyout, Tooltip , การสร้างวัตถุพื้นฐาน ใน Autodesk 3dsmax
- การเรนเดอร์เพื่อ Output ออกไปเป็น File ภาพ *. JPG
- เทคนิคการตั้งค่าภาพให้มีความคมชัด และลดการประมวลผลของหน้าจอ
- การสร้างไฟล์งานต้นแบบ เพื่อสะดวกต่อการสร้างงาน 3D ต่อไป
- การปรับแต่งค่า Units Setup เพื่อความถูกต้องของมาตราส่วน
- การปรับแต่งค่าในส่วนของ Grid and Snap Setting
- เทคนิคในการ Backup Files และการกู้ File กลับมาใช้ใหม่
ครั้งที่ 2 การสร้างและแก้ไขวัตถุโดยใช้เครื่องมือพื้นฐานของโปรแกรม
- การสร้างอาคารแบบกำหนดระยะที่แม่นยำโดยใช้ เครื่องมือพื้นฐานของโปรแกรม
- การเปลี่ยนแปลงและเคลื่อนย้ายวัตถุ (Transform) แบบ Absolute และ Relative (Offset) Mode
- ทำความเข้าใจหลักการและระบบการขึ้น Model แบบแม่นยำและแบบสัดส่วน
- การใช้งาน Array, Align , Quick Align, Clone, Move, Rotate , Scale
- การใช้คำสั่ง Group และ Ungroup• การสร้างวัตถุพื้นฐาน ใน Autodesk 3DS Max
- การใช้คำสั่งสี่เหลี่ยมนำมาประกอบและสร้างวัตถุ 3 มิติ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการทำงาน
- การปรับแต่งค่า Preference Setting
Workshop ทดลองสร้างอาคาร 5 ชั้น 1 อาคาร
ครั้งที่ 3 การใช้เครื่องมือพื้นฐานและหลักการใช้Modifyของโปรแกรม
- การใช้คำสั่งสร้างวัตถุ 3 มิติ รูปทรงพื้นฐาน (Standard-Extended Primitives )
- เรียนรู้หลักการในการเลือกวัตถุด้วยวิธีและเทคนิคแบบต่างๆ
- การซ่อนและแสดงวัตถุ (Hide & Isolation mode) เพื่อความสะดวกในการแก้ไขวัตถุ
- การใช้คำสั่งในชุดของการรวมกลุ่มวัตถุ
- การใช้ Asset Browser
- หลักการใช้งาน Name Selection Set
- การใช้ Spacing Tools
- หลักการใช้ Basic Modify : Proboolean ,Bend ,Lattice ,Slice ,Cap holes, Shell, FFD
ครั้งที่ 4 การสร้างงานออกแบบสถาปัตยกรรมโดยใช้ AEC Level I
- การสร้างผนัง (Wall) ของอาคารในรูปแบบต่างๆ พร้อมทั้งแก้ไขดัดแปลง ในระบบ Sub-Object
- การสร้างประตู (Door) : Pivot ,Sliding ,Bifold
- การสร้างหน้าต่าง (Window) : Awning, Casement, Fixed, Pivoted, Projected, Slideing
- การจัดวางส่วนประกอบของอาคารของถูกต้องตามสัดส่วนและความจริง
- การใส่วัสดุประตูและหน้าต่าง ในส่วนของ AEC Template
- การ Save Perspective Views to Camera
- การสร้างหลังคาปั้นหยาและหน้าจั่ว แบบ Mass Model
Workshop ทดลองสร้างบ้านพักอาศัย 2 ชั้น
ครั้งที่ 5 หลักการใส่วัสดุและพื้นผิวสำหรับงานออกแบบ
- การกำหนดพื้นผิววัตถุโดยเลือกจาก Library
- การกำหนดคุณลักษณะพื้นผิววัตถุแบบมาตรฐาน ( Basic Parameters )
- การปะภาพบนวัตถุ (Image Map) • การสร้าง Material ในรูปแบบอื่น ๆ
- การใช้ UVW Map Modifier และปรับให้ได้ระยะตามต้องการ
- การ Save Material เพื่อนำไปใช้ในงานอื่นๆ ต่อไป
- การใช้งาน Color Clipboard Utility ทดลองสร้างวัสดุที่ใช้ในงานสถาปัตยกรรมและ Spec ใส่กับงานออกแบบ
ครั้งที่ 6 การปรับแต่งบรรยากาศและสภาพแวดล้อมภายในงานออกแบบ
- การกำหนดและปรับแต่ง Background Environment ให้เหมาะสมกับอาคาร
- การสร้างกล้องและปรับมุมมองเพื่อให้เกิดความเหมาะสมในงานออกแบบ
- การวางตำแหน่งกล้อง ( Target Free ) เช่น กล้องแบบ Target , กล้องแบบ Free
- การใช้ Camera Correction
- การใช้งาน Safe Mode เพื่อการ output งานภาพนิ่งที่สมบูรณ์
- หลักการใส่ต้นไม้เพื่อทำให้ลดประมวลผลของงาน
- การใส่ Skylight และ Light Tracer เพื่อควบคุมภาพให้เกิดมิติได้อย่างชัดเจน
- การใช้งาน Archive and Resource Collector
- ทดลองทำ Mass Model Study ภายในเวลาที่กำหนด
ครั้งที่ 7 การสร้างและแก้ไขงานโดยการใช้ Editable Mesh
- การปรับแต่งปุ่มคำสั่งที่แสดงใน Modifier Command Panel
- ทำความรู้จักและเจาะลึกโครงสร้าง 3 มิติแบบ Vertex , Edge , Face , Border , Polygon , Element
- เรียนรู้วิธีคิดและการมองวัตถุที่เพื่อนำมาขึ้นโมเดล 3 มิติ
- การแก้ไขวัตถุโดยใช้ Editable Mesh : Extrude , Bevel , Chamfer
- การกำหนด Material ID ให้กับวัตถุที่มีหลายวัสดุใน Object เดียว
- ทดลองสร้างงาน Interior และ Furniture Build-inโดยใช้ Editable Mesh
ครั้งที่ 8 การสร้างและแก้ไขงานโดยการใช้ Editable Spline
- การสร้าง Line ,Rectangle, Circle, Arc, และวัตถุเกี่ยวกับ 2มิติในส่วนของ Spline
- การสร้างวัตถุ 3 มิติ จากเส้น 2 มิติ โดยการ Extrude , Bevel , PathDeform
- หลักการทำให้ Spline มีความเหมาะสมให้การขึ้นรูป 3D
- การสร้างตัวอักษร 3 มิติให้มีความหนาโดยคำสั่ง Extrude
- การสร้างวัตถุ 3 มิติ จาก Spline โดยใช้ค าสั่ง Loft Object และ Deformation
- การสร้างวัตถุจากคำสั่ง Cross Section ทดลองสร้างงานออกแบบโดยใช้ Editable Spline
ครั้งที่ 9 การสร้างและแก้ไขงานโดยการใช้ Editable Poly
- เรียนรู้โครงสร้างที่ประกอบเป็นวัตถุในระดับย่อยในส่วนของ Editable Poly
- การเลือก Sub-Object Type Ring & Loop , Grow & Shrink
- การทำงานในระดับ Vertex , Edge , Face , Border , Polygon , Element
- การ Edit Sub-Object Rollout – [Delete & Remove] ,Extrude ,Bevel ,Chamfer ,Inset ,Outline ,Cut ,Insert Vertex ,Connect ,Cap ,Create Shape from Selection ,Hinge from edge ,Edit Trangulation ,Slice , Quick Slice ,Turn
- ทดลองสร้างงานออกแบบโดยใช้ Editable Poly
ครั้งที่ 10 การสร้างและแก้ไขโดยการใช้ Editable Poly, Spline, Patch
- การกำหนดให้เส้น Spline สามารถเรนเดอร์ได
- หลักการสร้างวัตถุที่มีความ Smooth
- การใช้ Lath จากเส้น Spline
- เรียนรู้วิธีการวัตถุด้วยการ Modify ในรูปแบบต่างๆ
- การใช้ Patch and Edit Patch
- การใช้งาน Soft-Selection
- การกำหนด Channel ในงานเพื่อใช้ในการจัด Material ID
ครั้งที่ 11 การสร้างงานออกแบบสถาปัตยกรรมโดยใช้ AEC Level II
- เรียนรู้หลักการและวิธีใช้ AEC Extended
- การสร้างราว (Railing) ในรูปแบบต่าง ๆ
- การสร้างต้นไม้(Foliage) ให้เหมือนจริง
- การสร้างเนินดิน (Terrain)
- การสร้าง บันได (Stair) รูปแบบต่างๆ เช่น L-Type, Spiral , Straight , U –Type
ครั้งที่ 12 การใช้โปรแกรม AutoCAD ร่วมกับ 3DSMAX
- วิธีการนำ File จาก AutoCAD เข้ามาในในโปรแกรม 3DS Max
- เรียนรู้ระบบการใช้ File Link Manager
- Update links ระหว่าง 3DS Max กับ AutoCAD เพื่อให้เกิดการเชื่อมโยงอย่างมีประสิทธิภาพ
- การสร้างหลังคาในรูปแบบต่างๆ โดยใช้การใช้ File จาก AutoCAD
- การนำFile * Max, *3DS จาก file งานอื่น เข้ามาใช้งานด้วยวิธีต่างๆ
- ทดลองสร้างผังแบบแปลนอาคาร Interior และExterior แบบ 3 มิติ
ครั้งที่ 13 การจัดแสงและบรรยากาศสำหรับงานภายใน [ INTERIOR ]
- ทำความเข้าใจการออกแบบแสงสว่างทั้งแสงธรรมชาติและแสงประดิษฐ์
- หลักการจัดแสง 3 ชนิด ตามมาตรฐานงานสถาปัตยกรรม
- ชนิดของแหล่งกำเนิดแสง (Ambient Light, Omni, Spot Light Directional Light)
- องค์ประกอบของแหล่งกำเนิดแสง และกำหนดค่าต่าง ๆ ( General Parameters, Spotlight Parameters, Shadow Parameters )
- การสร้างเงา เช่น เงาดำของวัตถุทึบแสง,เงาของวัตถุโปร่งแสง
- การกำหนดวัตถุโปร่งแสง,การสร้างวัตถุให้เกิดเงาแบบ Ray-Traced
- การใช้ Photometric Light กับ Illuminating Engineering Society (IES)
- หลักการให้แสงเพื่อให้เกิดภาพที่สวยงาม
- ทดลองจัดแสง INTERIOR ตามบรรยากาศที่ต้องการ
ครั้งที่ 14 การจัดแสงและบรรยากาศสำหรับงานภายนอก [ EXTERIOR ]
- การใช้ Len - effect
- การสร้าง Projector หรือเครื่องฉายสไลด์จากแหล่งกำเนิดแสง
- การจัดแสงภายนอกด้วย E-Lightและ Sky Dome
- สร้างแหล่งกำเนิดแสงตามธรรมชาติ จาก Daylight
- การกำหนดการคำนวณแสงเงาให้ความสวยงามสมจริงและความถูกต้องแม่นยำ
- การนำภาพที่ตั้งอาคารมาปรับแต่งใส่อาคารใหม่ Camera Match
- ทดลองจัดแสง Exterior ตามบรรยากาศที่ต้องการ
ครั้งที่ 15 การ Presentation งานภาพนิ่งและเคลื่อนไหว
- การ Render โดยการใช้ Toolbar ,Time Saving in Rendering
- Render Scene (Common Parameters, MAX Default Scanline A-Buffer)
- การ Render แบบ Batch Render
- องค์ประกอบที่จำเป็นสำหรับในการ Render เพื่อให้งานมีคุณภาพและตรงตามต้องการ
- การ Rendering เป็นภาพนิ่งและ ภาพเคลื่อนไหวใน Format ต่าง ๆ
- การ Rendering Pixel Dimension & Print Size เพื่อให้มีคุณภาพของภาพตามต้องการ
- การสร้างภาพ Panorama
- การเปรียบเทียบคุณภาพงาน 3 มิติ โดยใช้ RAM Player
- การ Save File ภาพ 3 มิติ จาก 3DSMAX ส่งไป Retouch ใน Photoshop
- หลักการในการทำ Animation ในงานสถาปัตยกรรม
- ทำความเข้าใจเรื่องช่วงเวลา และปุ่มควบคุม (Play Control) Animation และ Preview ภาพ Animation
- การกำหนดการเคลื่อนไหวให้วัตถุตามเส้น Spline
- การกำหนดการแบบ Walkthrough Animation
- การ Render และตั้งค่าเป็นภาพเคลื่อนไหวใน Format ต่าง ๆ
- สรุปข้อเสนอแนะจากประสบการณ์ของวิทยากร
Course Outline อาจมีการปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสมของนักเรียนในคอร์สนั้นๆ โดยมิต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า